เนื้อเรื่อง
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺสฯ
ต้นมงคลสูตร
ต้นมงคลสูตร
1. ยญฺจ ทฺวาทส วสฺสานิ จินฺตยิสฺ สเทวกา
สิบสองฉนำเหล่า นรอีกสุเทวา
รวมกันและตริหา สิริมังคลาใด
2. จิรสฺสํ จินฺตยนฺตาปี เนว ชานิสุ มงฺคลํ
จกฺกวาฬสหสฺเสสุ ทสสุ เยน ตตฺตกํ
กาลํ โกลาหลํ ชาตํ ยาว พฺรหฺมนิเวสนา
เทวามนุษทวี พหุภพประเทศใน
หมื่นจักระวาฬได้ ดำริห์สิ้นจิรังกาล
แล้วยังบ่รู้มง - คะละสมมโนมาลย์
ด้วยกาละล่วงนาน บ่มิได้ประสงค์สม
ได้เกิดซึ่งโกลา - หะละยิ่งมโหดม
ก้องถึง ณ ชั้นพรหม ธสถิตสะเทือนไป
3. ยํ โลกนาโถ เทเสสิ
องค์โลกนาถเทศน์ วรมังคะลาใด
4. สพฺพปาปวินาสนํ
ยังปาปะปวงให้ ทุษะเสื่อมวินาศมล
5. ยํ สุตฺวา สพฺพทุกฺเขหิ มุจฺจนฺตาสงฺขิยา นรา
ชนหลาย บ่ พึงนับ ผิสดับสุมงคล
ใดแล้วและรอดพ้น พหุทุกขะยายี
6. เอวมาทิคุณูเปตํ มงฺคลนฺตมฺภฌาม เส.ฯ
เราควรจะกล่าวมง - คะละอันประเสริฐที่
กอบด้วยคุณามี วรอัตถะเฉิดเฉลา ฯ
สิบสองฉนำเหล่า นรอีกสุเทวา
รวมกันและตริหา สิริมังคลาใด
2. จิรสฺสํ จินฺตยนฺตาปี เนว ชานิสุ มงฺคลํ
จกฺกวาฬสหสฺเสสุ ทสสุ เยน ตตฺตกํ
กาลํ โกลาหลํ ชาตํ ยาว พฺรหฺมนิเวสนา
เทวามนุษทวี พหุภพประเทศใน
หมื่นจักระวาฬได้ ดำริห์สิ้นจิรังกาล
แล้วยังบ่รู้มง - คะละสมมโนมาลย์
ด้วยกาละล่วงนาน บ่มิได้ประสงค์สม
ได้เกิดซึ่งโกลา - หะละยิ่งมโหดม
ก้องถึง ณ ชั้นพรหม ธสถิตสะเทือนไป
3. ยํ โลกนาโถ เทเสสิ
องค์โลกนาถเทศน์ วรมังคะลาใด
4. สพฺพปาปวินาสนํ
ยังปาปะปวงให้ ทุษะเสื่อมวินาศมล
5. ยํ สุตฺวา สพฺพทุกฺเขหิ มุจฺจนฺตาสงฺขิยา นรา
ชนหลาย บ่ พึงนับ ผิสดับสุมงคล
ใดแล้วและรอดพ้น พหุทุกขะยายี
6. เอวมาทิคุณูเปตํ มงฺคลนฺตมฺภฌาม เส.ฯ
เราควรจะกล่าวมง - คะละอันประเสริฐที่
กอบด้วยคุณามี วรอัตถะเฉิดเฉลา ฯ
มงคลสูตร
1. เอวมฺเม สุตํ
องค์พระอานนท์ท่านเล่า ว่าข้าพเจ้า
ได้ฟังมาแล้วดังนี้
2. เอกํ สมยํ ภควา
สมัยหนึ่งพระผู้มี พระภาคชินสีห์
ผู้โลกนาถจอมธรรม์
3. สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม.
ประทับ ณ เชตะวัน วิหาระอัน
อนาถะบิณฑิกไซร์
จัดสร้างอย่างดีที่ใน สาวัตถีให้
เป็นที่สถิตสุขา
4. อถ โข อญฺญตรา เทวตา
ครั้งนั้นแลเทวะดา องค์หนึ่งมหา-
นุภาพมหิทธิ์ฤทธี
5. อภิกกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา
ล่วงประถมยามราตรี เธอเปล่งรัศมี
อันเรืองระยับจับเนตร์
6. เกวลกปฺปํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา
แสงกายเธอปลั่งยังเขต สวนแห่งเจ้าเชต
สว่างกระจ่างทั่วไป
7. เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ
องค์พระภควันนั้นไซร์ ประทับแห่งใด
ก็เข้าไปถึงที่นั้น
8. อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา
ครั้นเข้าใกล้แล้วจึงพลัน ถวายอภิวันท์
แด่องค์สมเด็จทศพล
9. เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ.
แล้วยืนที่ควรดำกล เสงี่ยมเจียมตน
แสดงเคารพนบศีร์
10. เอกมนฺตํ ฐิตาโข สา เทวตา
เมื่อเทวดายินดี สมควร ณ ที่
ข้างหนึ่งดังกล่าวแล้วนั้น
11. ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ ฯ
จึงได้ทูลถามภควัน ด้วยถ้อยประพันธ์
เป็นพระคาถาบรรจง ฯ
พหู เทวา มนุสฺสา จ มงฺคลานิ อจินฺตยุ
อากงฺขมานา โสตฺถานํ พฺรหิ มงฺคลมุตฺตมํฯ
เทพอีกมนุษหวัง คติโสตถิจำนง
โปรดเทศะนามง- คะละเอกอุดมดี
(ฝ่ายองค์พระชินสีห์ ตรัสตอบวาที
ด้วยพระคาถาไพจิตร)
1. อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
หนึ่งคือ บ่ คบพาล เพราะจะพาประพฤติผิด
หนึ่งคบกะบัณฑิต เพราะจะพาประสพผล
หนึ่งกราบและบูชา อภิปูชนีย์ชน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี1
2. ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
ความอยู่ประเทศซึ่ง เหมาะและควรจะสุขี
อีกบุญญะการที่ ณ อดีตะมาดล
อีกหมั่นประพฤติชอบ ณ สภาวะแห่งตน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี2
3. พาหุสจจญฺจ สิปฺปญฺจ วินโย จ สุสิกฺขิโต
สุภาสิตา จ ยา วาจา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ความได้สดับมาก และกำหนดสุวาที อ่านเพิ่มเติม
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
หนึ่งคือ บ่ คบพาล เพราะจะพาประพฤติผิด
หนึ่งคบกะบัณฑิต เพราะจะพาประสพผล
หนึ่งกราบและบูชา อภิปูชนีย์ชน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี1
2. ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
ความอยู่ประเทศซึ่ง เหมาะและควรจะสุขี
อีกบุญญะการที่ ณ อดีตะมาดล
อีกหมั่นประพฤติชอบ ณ สภาวะแห่งตน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี2
3. พาหุสจจญฺจ สิปฺปญฺจ วินโย จ สุสิกฺขิโต
สุภาสิตา จ ยา วาจา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ความได้สดับมาก และกำหนดสุวาที อ่านเพิ่มเติม
ใจความสำคัญของมงคลสูตร
คาถาบทที่ 1 ไม่ควรคบคนชั่วเพราะจะพาให้เราประพฤติชั่วไปด้วย ควรคบคนดีมีความรู้เพราะจะนำเราไปสู่ความสำเร็จ และควรบูชาคนดี
คาถาบทที่ 2 ควรปฏิบัติตนและอยู่ในที่ที่เหมาะที่ควรแห่งตน ทำบุญไว้แต่ปางก่อน
คาถาบทที่ 3 รู้จักฟัง รู้จักพูด มีวินัย ใฝ่ศึกษาหาความรู้
คาถาบทที่ 4 ดูแลบิดามารดา บุตร ภรรยาเป็นอย่างดี ทำงานด้วยความตั้งใจ
คาถาบทที่ 5 รู้จักให้ทาน ช่วยเหลือญาติพี่น้อง ทำแต่ความดี มีสัมมาอาชีพ
คาถาบทที่ 6 ไม่ประพฤติชั่ว ไม่ละเลยในการประพฤติ เว้นการดื่มน้ำเมา
คาถาบทที่ 7 ให้ความเคารพผู้ควรเคารพ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีความพอใจในสิ่งที่ตนมี มีความกตัญญูรู้คุณ และรู้จักฟังธรรมในโอกาสอันควร
คาถาบทที่ 8 มีความอดทน ว่านอนสอนง่าย หาโอกาสพบผู้ดำรงคุณธรรมเพื่อสนทนาธรรม
คาถาบทที่ 9 พยายามกำจัดกิเลส ประพฤติพรหมจรรย์ เข้าใจในความเป็นจริงของชีวิตเพื่อจิตสงบถึงซึ่งนิพพาน
คาถาบทที่ 10 มีจิตอันสงบ รู้จักปล่อยวางไม่หวั่นไหวกับสิ่งที่มากระทบ
คาถาบทที่ 11 เทวดาและมนุษย์ปฏิบัติสิ่งที่เป็นมงคลเหล่านี้แล้วจะไม่พ่ายแพ้ให้แก่ข้าศึกทั้งปวง
มีแต่ความสุขความเจริญทุกเมื่อ อ่านเพิ่มเติม
คาถาบทที่ 1 ไม่ควรคบคนชั่วเพราะจะพาให้เราประพฤติชั่วไปด้วย ควรคบคนดีมีความรู้เพราะจะนำเราไปสู่ความสำเร็จ และควรบูชาคนดี
คาถาบทที่ 2 ควรปฏิบัติตนและอยู่ในที่ที่เหมาะที่ควรแห่งตน ทำบุญไว้แต่ปางก่อน
คาถาบทที่ 3 รู้จักฟัง รู้จักพูด มีวินัย ใฝ่ศึกษาหาความรู้
คาถาบทที่ 4 ดูแลบิดามารดา บุตร ภรรยาเป็นอย่างดี ทำงานด้วยความตั้งใจ
คาถาบทที่ 5 รู้จักให้ทาน ช่วยเหลือญาติพี่น้อง ทำแต่ความดี มีสัมมาอาชีพ
คาถาบทที่ 6 ไม่ประพฤติชั่ว ไม่ละเลยในการประพฤติ เว้นการดื่มน้ำเมา
คาถาบทที่ 7 ให้ความเคารพผู้ควรเคารพ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีความพอใจในสิ่งที่ตนมี มีความกตัญญูรู้คุณ และรู้จักฟังธรรมในโอกาสอันควร
คาถาบทที่ 8 มีความอดทน ว่านอนสอนง่าย หาโอกาสพบผู้ดำรงคุณธรรมเพื่อสนทนาธรรม
คาถาบทที่ 9 พยายามกำจัดกิเลส ประพฤติพรหมจรรย์ เข้าใจในความเป็นจริงของชีวิตเพื่อจิตสงบถึงซึ่งนิพพาน
คาถาบทที่ 10 มีจิตอันสงบ รู้จักปล่อยวางไม่หวั่นไหวกับสิ่งที่มากระทบ
คาถาบทที่ 11 เทวดาและมนุษย์ปฏิบัติสิ่งที่เป็นมงคลเหล่านี้แล้วจะไม่พ่ายแพ้ให้แก่ข้าศึกทั้งปวง
มีแต่ความสุขความเจริญทุกเมื่อ อ่านเพิ่มเติม
มงคลสูตรคำฉันท์
เป็นวรรณคดี คำสอน ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรมที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ไพเราะ มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย สามารถจดจำได้ง่าย มงคลสูตรคำฉันท์นี้จะเกิดแต่ตัวเราเองได้ก็ต้องเป็นผลมาจากการประพฤติปฏิบัติดีของตนเองเท่านั้น หาได้มาจากปัจจัยอื่นเลย
ผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ลักษณะคำประพันธ์
กาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 แทรกคาถาบาลี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อให้ตระหนักว่าสิริมงคลจะเกิดแก่ผู้ใดก็เพียงผลมาจากการปฏิบัติของตนทั้งสิ้น
ไม่มีผู้ใดหรือสิ่งใดจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่เราได้ นอกจากตัวเราเอง
ความเป็นมา
เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำมงคลสูตร
มาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเภทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด
คือ กาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง
แล้วแปลถอดความเป็นร้อยกรองภาษาไทย ได้ถูกต้องตรงตามบังคับในฉันทลักษณ์
โดยไม่เสียเนื้อความจากพระคาถาบาลี การจัดวางลำดับของมงคลแต่ละข้อก็เป็นไปตาม
ที่ปรากฏอยู่ในพระคาถาเดิม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาได้อย่างดียิ่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ลักษณะคำประพันธ์
กาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 แทรกคาถาบาลี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อให้ตระหนักว่าสิริมงคลจะเกิดแก่ผู้ใดก็เพียงผลมาจากการปฏิบัติของตนทั้งสิ้น
ไม่มีผู้ใดหรือสิ่งใดจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่เราได้ นอกจากตัวเราเอง
ความเป็นมา
เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำมงคลสูตร
มาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเภทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด
คือ กาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง
แล้วแปลถอดความเป็นร้อยกรองภาษาไทย ได้ถูกต้องตรงตามบังคับในฉันทลักษณ์
โดยไม่เสียเนื้อความจากพระคาถาบาลี การจัดวางลำดับของมงคลแต่ละข้อก็เป็นไปตาม
ที่ปรากฏอยู่ในพระคาถาเดิม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาได้อย่างดียิ่ง
"อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
หนึ่งคือบ่คบพาล เพราะจะพาประพฤติผิด
หนึ่งคบกะบัณฑิต เพราะจะพาประสบผล
หนึ่งกราบและบูชา อภิบูชนีย์ชน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี" อ่านเพิ่มเติม
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ
หนึ่งคือบ่คบพาล เพราะจะพาประพฤติผิด
หนึ่งคบกะบัณฑิต เพราะจะพาประสบผล
หนึ่งกราบและบูชา อภิบูชนีย์ชน
ข้อนี้แหละมงคล อดิเรกอุดมดี" อ่านเพิ่มเติม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น